สรุปประเด็นผลกระทบจากวิกฤตค่าเงินบาทผู้ส่งออก

และข้อเสนอแนะดำเนินการช่วยเหลือผู้ส่งออก

วันที่ 10 กันยายน 2553  จัดโดยสายงานเศรษฐกิจและโลจิสติกส์

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

 

จากกรณีการแข็งค่าของเงินบาทมีปัจจัยภายนอกหลายประการช่วงตั้งแต่ สิงหาคม 2553 ซึ่งเกื้อหนุนส่งผลให้เงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินสหรัฐให้มีการแข็งค่าอย่างต่อเนื่อง  ทั้งนี้เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2553 (อัตราซื้อ)แลกเปลี่ยนอยู่ที่ 30.635 – 30.73 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นอัตราที่แข็งค่ามาก เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเงินบาท ในเดือนมกราคม 2553 อยู่ที่ระดับ 33.15 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ พบว่า เงินบาทมีการแข็งค่าไปถึง 2.51 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ  คิดเป็นร้อยละ 8.34  ซึ่งเป็นอัตราแข็งค่าสูงสุดเป็นอันดับ 3 รองจากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแข็งค่าร้อยละ 9.41 และอันดับ 2 เป็นของประเทศมาเลเซีย แข็งค่าร้อยละ 9.24  

อนึ่งฯ หากเปรียบเทียบเฉพาะในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา จะพบว่าเงินบาทกลับมีการแข็งค่าเป็นอันดับ 1 ของภูมิภาค เปรียบเทียบจาก(อัตราซื้อ)ค่าเงินบาท ณ วันที่ 9 สิงหาคม อยู่ที่ 31.828 บาท/เหรียญสหรัฐ เทียบกับวันอังคารที่ 10 กันยายน 2553  อัตราซื้ออยู่ที่ 30.635 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงเวลาเพียง 1 เดือน เงินบาทมีการแข็งค่าถึง 1.20 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 3.77 โดยมีประเทศมาเลเซียแข็งค่าเป็นอันดับ 2 ที่ อัตราร้อยละ 1.43 และประเทศญี่ปุ่นเป็นอันดับ 3 ที่อัตราแข็งค่าร้อยละ 1.36 ทั้งนี้เงินบาทของไทยยังแข็งค่ากว่าเงินหยวนของจีน ซึ่งแข็งค่าเพียง 0.03 และเงินวอนของเกาหลีที่ 0.23 สำหรับเงินด่องของเวียดนามอ่อนค่าร้อยละ -4.08 ด่อง / เหรียญสหรัฐฯ และเงินฮ่องกงดอลล่าร์ก็อ่อนค่าร้อยละ 2.40 ทั้งนี้ เงินบาทในช่วง 1 เดือน ทำสถิติแข็งค่ามากที่สุดในรอบ 13 ปี หากเป็นสัดส่วนเช่นนี้โอกาสที่เงินบาทจะแข็งค่าไปที่ระดับ 29.50 บาท/ดอลลาร์สหรัฐภายในปลายเดือนตุลาคม 2553 จะมีความเป็นไปได้สูง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออกมากกว่าที่เป็นอยู่ (ยกเว้น ธปท. มีมาตรการสกัดเงินไหลเข้าอย่างเป็นรูปธรรม)


อ่านเพิ่มเติมคลิกที่Linkไฟล์บทความ

" />
       
 

สรุปประเด็นผลกระทบจากวิกฤตค่าเงินบาทผู้ส่งออกและข้อเสนอแนะดำเนินการช่วยเหลือผู้ส่งออก Share


สรุปประเด็นผลกระทบจากวิกฤตค่าเงินบาทผู้ส่งออก

และข้อเสนอแนะดำเนินการช่วยเหลือผู้ส่งออก

วันที่ 10 กันยายน 2553  จัดโดยสายงานเศรษฐกิจและโลจิสติกส์

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

 

จากกรณีการแข็งค่าของเงินบาทมีปัจจัยภายนอกหลายประการช่วงตั้งแต่ สิงหาคม 2553 ซึ่งเกื้อหนุนส่งผลให้เงินบาทเมื่อเทียบกับสกุลเงินสหรัฐให้มีการแข็งค่าอย่างต่อเนื่อง  ทั้งนี้เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2553 (อัตราซื้อ)แลกเปลี่ยนอยู่ที่ 30.635 – 30.73 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นอัตราที่แข็งค่ามาก เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเงินบาท ในเดือนมกราคม 2553 อยู่ที่ระดับ 33.15 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ พบว่า เงินบาทมีการแข็งค่าไปถึง 2.51 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ  คิดเป็นร้อยละ 8.34  ซึ่งเป็นอัตราแข็งค่าสูงสุดเป็นอันดับ 3 รองจากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งแข็งค่าร้อยละ 9.41 และอันดับ 2 เป็นของประเทศมาเลเซีย แข็งค่าร้อยละ 9.24  

อนึ่งฯ หากเปรียบเทียบเฉพาะในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา จะพบว่าเงินบาทกลับมีการแข็งค่าเป็นอันดับ 1 ของภูมิภาค เปรียบเทียบจาก(อัตราซื้อ)ค่าเงินบาท ณ วันที่ 9 สิงหาคม อยู่ที่ 31.828 บาท/เหรียญสหรัฐ เทียบกับวันอังคารที่ 10 กันยายน 2553  อัตราซื้ออยู่ที่ 30.635 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงเวลาเพียง 1 เดือน เงินบาทมีการแข็งค่าถึง 1.20 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 3.77 โดยมีประเทศมาเลเซียแข็งค่าเป็นอันดับ 2 ที่ อัตราร้อยละ 1.43 และประเทศญี่ปุ่นเป็นอันดับ 3 ที่อัตราแข็งค่าร้อยละ 1.36 ทั้งนี้เงินบาทของไทยยังแข็งค่ากว่าเงินหยวนของจีน ซึ่งแข็งค่าเพียง 0.03 และเงินวอนของเกาหลีที่ 0.23 สำหรับเงินด่องของเวียดนามอ่อนค่าร้อยละ -4.08 ด่อง / เหรียญสหรัฐฯ และเงินฮ่องกงดอลล่าร์ก็อ่อนค่าร้อยละ 2.40 ทั้งนี้ เงินบาทในช่วง 1 เดือน ทำสถิติแข็งค่ามากที่สุดในรอบ 13 ปี หากเป็นสัดส่วนเช่นนี้โอกาสที่เงินบาทจะแข็งค่าไปที่ระดับ 29.50 บาท/ดอลลาร์สหรัฐภายในปลายเดือนตุลาคม 2553 จะมีความเป็นไปได้สูง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออกมากกว่าที่เป็นอยู่ (ยกเว้น ธปท. มีมาตรการสกัดเงินไหลเข้าอย่างเป็นรูปธรรม)


อ่านเพิ่มเติมคลิกที่Linkไฟล์บทความ


ไฟล์ประกอบ : 023-สรุปประเด็นผลกระทบจากวิกฤตค่าเงินบาทผู้ส่งออก-
อ่าน : 1984 ครั้ง
วันที่ : 16/09/2010

Contact : V-SERVE GROUP 709/54-55 ถ.สุขุมวิท 77 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง  กทม. 10250 โทรศัพท์. 0 2332 3940-9 โทรสาร. 0 2332 0754
E-mail: tanit@v-servegroup.com