ท่าเรือเชียงแสนเป็นท่าเรือพาณิชย์สากลแห่งเดียวของประเทศไทย ซึ่งอยู่ริมแม่น้ำโขงบริเวณเขตเทศบาลเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ดำเนินการบริหารและจัดการโดยการท่าเรือแห่งประเทศไทย ลักษณะเป็นทำทุ่นลอยอยู่ริมแม่น้ำโขง เนื่องจากไม่สามารถก่อสร้างให้เป็นท่าเรือในลักษณะที่เป็นหน้าท่ายื่นล้ำไปบนแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยและลาว มีข้อตกลงในการใช้ร่องน้ำเป็นการแบ่งเขตแดน ซึ่งร่องน้ำก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทำให้ร่องน้ำอยู่ติดกับฝั่งไทยและข้อตกลงที่ไม่เป็นธรรมที่มีแต่ในสมัยฝรั่งเศสในการห้ามประเทศไทยสร้างสิ่งก่อสร้างรุกล้ำลงไปในบริเวณแม่น้ำ อีกทั้ง ท่าเรือเชียงแสน ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่า กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นเขตโบราณสถานในรัศมี 200,000 ตารางเมตร ในเขตตัวเมืองเชียงแสน รวมทั้ง ไม่มีพื้นที่หลังท่าในการทำเป็นโรงพักสินค้าและลานจอดรถ ทำให้เป็นอุปสรรคในการขยายและพัฒนาท่าเรือให้รองรับการขนถ่ายสินคาเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างประเทศไทย และประเทศจีนตอนใต้
ภาคเอกชนในพื้นที่มีความต้องการให้มีการจัดพื้นที่ในการก่อสร้างท่าเรือแห่งใหม่ ให้สามารถสร้างเป็นท่าเรือที่เป็นลักษณะเป็นแอ่ง (Basin) ให้เรือสามารถเข้ามาเทียบเท่าโดยไม่มีปัญหากับประเทศ สปป.ลาว และมีพื้นที่หลังท่าให้สามารถเอื้ออำนวยต่อการขนถ่ายสินค้า โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยภายใต้สายงานโลจิสติกส์ ได้มีการผลักดันร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย , หอการค้าจังหวัดเชียงราย มาตั้งแต่ปี 2548 ตั้งแต่ในยังดำเนินกิจกรรมอยู่ในสายงานจังหวัด ซึ่งต่อมาได้ดำเนินกิจกรรมภายใต้คณะอนุกรรมการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ การดำเนินการ ประกอบด้วย
|
||||
|
||||
โครงการศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้าเชียงแสน2-สอท-รมช Shareบทนำ ท่าเรือเชียงแสนเป็นท่าเรือพาณิชย์สากลแห่งเดียวของประเทศไทย ซึ่งอยู่ริมแม่น้ำโขงบริเวณเขตเทศบาลเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ดำเนินการบริหารและจัดการโดยการท่าเรือแห่งประเทศไทย ลักษณะเป็นทำทุ่นลอยอยู่ริมแม่น้ำโขง เนื่องจากไม่สามารถก่อสร้างให้เป็นท่าเรือในลักษณะที่เป็นหน้าท่ายื่นล้ำไปบนแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยและลาว มีข้อตกลงในการใช้ร่องน้ำเป็นการแบ่งเขตแดน ซึ่งร่องน้ำก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ทำให้ร่องน้ำอยู่ติดกับฝั่งไทยและข้อตกลงที่ไม่เป็นธรรมที่มีแต่ในสมัยฝรั่งเศสในการห้ามประเทศไทยสร้างสิ่งก่อสร้างรุกล้ำลงไปในบริเวณแม่น้ำ อีกทั้ง ท่าเรือเชียงแสน ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่า กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นเขตโบราณสถานในรัศมี 200,000 ตารางเมตร ในเขตตัวเมืองเชียงแสน รวมทั้ง ไม่มีพื้นที่หลังท่าในการทำเป็นโรงพักสินค้าและลานจอดรถ ทำให้เป็นอุปสรรคในการขยายและพัฒนาท่าเรือให้รองรับการขนถ่ายสินคาเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างประเทศไทย และประเทศจีนตอนใต้ ภาคเอกชนในพื้นที่มีความต้องการให้มีการจัดพื้นที่ในการก่อสร้างท่าเรือแห่งใหม่ ให้สามารถสร้างเป็นท่าเรือที่เป็นลักษณะเป็นแอ่ง (Basin) ให้เรือสามารถเข้ามาเทียบเท่าโดยไม่มีปัญหากับประเทศ สปป.ลาว และมีพื้นที่หลังท่าให้สามารถเอื้ออำนวยต่อการขนถ่ายสินค้า โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยภายใต้สายงานโลจิสติกส์ ได้มีการผลักดันร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย , หอการค้าจังหวัดเชียงราย มาตั้งแต่ปี 2548 ตั้งแต่ในยังดำเนินกิจกรรมอยู่ในสายงานจังหวัด ซึ่งต่อมาได้ดำเนินกิจกรรมภายใต้คณะอนุกรรมการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ การดำเนินการ ประกอบด้วย ไฟล์ประกอบ : 171_TNT.pdf อ่าน : 2233 ครั้ง วันที่ : 14/07/2008 |
||||
|